วันพุธที่ 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2553

วันจันทร์ที่ 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2553

งานครั้งที่ 9 แล็กเซอร์

งานชิ้นที่ 9 แล็กเชอร์
หลัก การสร้างสื่อ เพื่อการนำเสนอที่ดี 26 ม.ค 53 ตัวอย่างกรณีศึกษา สื่อไตเติ้ลรายการ ศิลปะในการนำเสนอไม่ได้จำกัดอยู่เพียงแต่ มุมกล้องการจัดแสงที่สวยงาม สื่ออารมณ์และความหมายภามที่ผู้ผลิต รายการต้องการเท่านั้นยังมีศิลปะของการนำเสนออีกรูปแบบหนึ่งที่ทุกรายการจะ ขาดเสียมิได้ นั้นดี ๆส่วนที่เรียกว่าเป็น ส่วนประกอบรายการ อันได้แก่ไตเติ้ล ตัวอย่างรายการ อินเตอร์ลูดหรือคีซีน และท้ายรายการ


ไตเติ้ล คือ ส่วนประกอบรายการโทรทัศน์ ที่ทำหน้าที่บอกชื่อรายการโดยปกติจะอยู่ ในส่วนแรกสุด ของรายการ
1. รูปแบบการนำเสนอ
2. ลักษณะของภาพ
3. ทัศนสารที่ใช้สร้างเรื่อง
4. ตัวอักษรชื่อรายการ
5. ลำดับการนำเสนอ
6. การใช้เสียง
7. ความยาว
8. ลีลา

1. รูปแบบการนำเสนอไตเติ้ลรายการคือวิธีการเล่าเรื่องด้วยภาพที่ปรากฎในไตเติ้ลรายการ ในไตเติ้ล
1.1 การใช้ชื่อรายการ มีการใช้เฉพาะชื่อรายการเท่านั้นในการนำเสนอโดยปราศจากภาพ ที่จะช่วยขยายความหรื่อเล่าเรื่อง
1.2 การใช้สัญลักษณ์ สัญลักษณ์ เป็นสิ่งที่ใช้แทนความหมายของสิ่งใดสิ่งหนึ่งเป็นที่ยอมรับกันทั่วไป
1.3 การนำเสนอบุคคล การนำเสนอบุคคลในไตเติ้ล รายการมี 3 ลักษณะคือ การแนะนำ ผู้ดำเนินรายการ หรือพิธีกร การแนะนำนักแสดง และการแนะนำแขกรับเชิญ
1.4 การใช้ภาพแสดงเนื้อหา ภาพแสดงเนื่อหาที่ใช้เป็นรูปของการนำเสนอไตเติ้ลทำให้ผู้ชมทราบได้เป็นอย่างดี
1.5 การสร้างโครงเรื่อง โดยปกติแล้วโครงเรื่องเป็นส่วนประกอบสำคัญของการเล่าเรื่องในรูปแบบละคร

2. ลักษณะของภาพไตเติ้ล
2.1 ชนิดภาพมีการสร้างสรรค์ ภาพโดยใช้ภาพที่ถ่ายจริง มักเป็นไตเติ้ล
2.2 มุมกล้องภาพ ที่ปรากฏมักเป็นภาพประเภท simple shot คือเป็นภาพที่มีเพียงวัตถุเท่านั้นที่เคลี่อนไหวdeveloping shot เป็นภาพที่ประกอบขึ้นจากการเคลื่อนไหวของเลนน์complex shot เป็นภาพที่ประกอบขึ้นจากการเคลื่อนไหวของเลน
2.3 ลำดับภาพ คือวิธีการเรียงร้อยภาพเข้าไว้ด้วยกันเพื่อสื่อสารไปยังผู้ชมการซ้อนภาพการ ตัดภาพ เป็นการนำภาพหนึ่งไปต่อท้ายภาพอีกภาพหนึ่งการจางซ้อนภาพ เป็นการนำภาพหนึ่ง ไปเชื่อมกับอีกภาพหนึ่งโดยที่ในช่วงการเชื่อมต่อ ช่วงท้ายของภาพแรกค่อย ๆจางภาพไปการกวาดภาพ เป็นการนำภาพหนึ่งไปเชื่อมกับอีกภาพหนึ่ง โดยช่วงการเชื่อมต่อยังคงเห็นทั้งสองภาพ มีความชัดเท่ากัน

3. ทัศนสารที่ใช้สร้างเรื่องได้แก่ พื้นที่ เส้น รูปร่าง ความเข้ม สี การเคลื่อนไหว และจังหวะ
3.1 พื้นที่
3.2 เส้น ปรากฏอยู่ในทุก ๆส่วนของภาพ เพราะเมื่อมีความแตกต่างของความเข้มสีหรือสีตัด กันอย่างชัดเจนเส้นสีปรากฏเส้นที่พบเห็นในไตเติ้ล
3.3 รูปร่าง การใช้รูปร่างพื้นฐาน ได้แก่ วงกลม สี่เหลี่ยมและสามเหลี่ยม สำหรับรูปร่างพื้นฐาน สองมิติ และทรงกลมลูกบาศน์
3.4 สี และความเข้มสี สีแต่ละสีให้อารมณ์

สีแดง ความตื่นเต้นเร้าใจ
สี่เหลือง ดูสดใส ศักดิ์สิทธิ์
สีน้ำเงิน หนักแน่น มีราคา
สีฟ้า ให้ความสุขสบาย โปร่ง
สีเขียว ให้ความรู้สึกสดชื่น
สีม่วง มีเสน่ ลึกลับ
สีชมพู รู้สึกนุ่มนวล

งานครั้งที่ 7 การทำโปรแกรม Adobe Illustrat

การทำตัวหนังสือใน Adobe Illustrat



  1. เปิดโปรแกรม Adobe Illustrat

  2. สร้างหน้ากระดาษใหม่ขึ้นมา

  3. สร้างตัวหนังสือโดยการคลิก Type Tool

  4. แล้วคลิกไปในพื้นที่ที่ต้องการ

  5. พิมพ์ข้อความหรือตัวหนังสือลงไป

  6. เมื่อเราได้ข้อความที่ต้องการแล้ว เราสามารถย่อขยายตัวหนังสือได้ โดยการ คลิกไปที่มุมของตัวหนังสือ

  7. สามารถปรับขนาดตัวหนังสือ เปลี่ยนแบบอักษรได้ โดยไปปรับที่ Chareacter

  8. สามารถปรับรูปแบบตัวอักษรให้มีลักษณะต่างได้ เช่น ตัวโค้ง รูป ต่างๆ ได้ คลิก Effeet/warp/ARC

  9. แล้วยังเปลี่ยนสีตัวอักษรได้ คลิกที่ Fill

  10. เปลี่ยนสีเส้นขอบ คลิก Stroke

งานครั้งที่ 6 การสร้างสรรคผลงาน

การสร้างสรรค์ผลงาน
หลักการสร้างสื่อเพื่อนำ เสนอที่ดีสื่อป้ายโฆษณาบนเว็บ คือ รูปแบบหนึ่งของการโฆษณาบนเวิลต์ ไวด์ เว็บ เป็นการวางภาพโฆษณาลงไปบนหน้าเว็บแล้วทำลิงค์กลับไปยังเว็บที่โฆษณาขนาดของ แบนเนอร์ที่เป็นที่นิยม ได้แก่ 728*90 Pixelตำแหน่งแบนเนอร์ที่เหมาะสมที่สุด ได้แก่ ด้านบนถัดลงมาองค์ประกอบที่ใช้ในการออกแบบแบนเนอร์มี 6 ชนิด ได้แก่1.พาดหัว2.ข้อความโฆษณา3.ภาพประกอบ4.สัญลัษณ์ของผู้โฆษณา5.สี6.การ เคลื่อนไหวและการใช้สีประกอบหลักการออกแบบแบนเนอร์ที่ดี ได้แก่

1.ตัวอักษร
- พาดหัว 48 pt ข้อความ 32pt
- รูปแบบเหมาะสมสอดคล้องกับบุคลิก

2.สัญลักษณ์
-เน้น logo
-ไม่เน้นlogo

3.ภาพประกอบ
- ควรใช้ภาพกราฟฟิก (ลายเส้น)

4.สี
- พื้นหลังและตัวอักษรควรตัดกันให้เด่นชัด
- จับคู่สีให้เหมาะสม ไม่ควรเกิน 2-3 สี

5.การจัดวาง
-การใช้เส้นไกด์หรือตารางกริด

งานครั้งที่ 5 ภาพโฆษณา

กล้า....ไปกับ YAMAHA






























ครั้งที่ 4

เทคนิคการนำเสนอ แนวคิดเกี่ยวกับการสร้างสรรค์งานโฆษณา
ในการสร้างสรรค์งานโฆษณา ให้ประสบผลสำเร็จตามวัตถุประสงค์นั้นต้องขึ้นอยู่กับ
1. การวางกลยุทธ์ในการสร้างสรรค์
2. การนำเสนอความคิดสร้างสรรค์ ในโฆษณา
3. การสร้างสรรค์ผลงานให้โดดเด่น มีประสิทธิภาพและเหมาะสม


Execution หมายถึง การใส่เนื้อหาลงในชิ้นงานโฆษณาเป็นการนำเอาภาพ คำ และองค์ประกอบอื่น ๆของการสร้างสรรค์ มาผสมผสานกันอย่างมีศิลปะและสุนทรีเพื่อให้เกิดการสื่อข้อความที่มี ประสิทธิภาพและประสิทธิผล

การนำเสนอความคิดสร้างสรรค์โฆษณา
องค์ประกอบของการสร้างสรรค์โฆษณา
เพื่อ ให้งานโฆษณาสามารถทะลุแนวปราการของขั้นตอนการเลือกรับรู้ของผู้บริโภคได้ นั้น นอกจากยุทธวิธีทางด้านโฆษณาดูกว้างไว้เป็นแนวทางแล้ว ทั้งด้านแนวคิด (Concept) ลีลา (Tone) จุดเว้าวอน (Appeal) จุดขาย ( Selling point ) ตลอดจนแนวทางนำเสนอโดยอาศัยองค์ประกอบต่าง ๆที่แบ่งได้เป็น 2 ส่วน คือ
1. ส่วนที่เป็นคำพูด หรือ วัจนภาษา
2. ส่วนที่ไม่เป็นคำพูด หรือ อวัจนภาษา

ส่วนที่เป็นคำพูด
1.พาดหัวหลัก (Headline)
2.พาดหัวรอง ( Sub headline)
3.ข้อความโฆษณา ( copy )
4.คำบรรยายใต้ภาพ ( Caption )
5.สโลแกน ( slogan )
6.บรรทัดท้าย ( Base line )
7.ชื่อตราสินค้า ( Brand name )

ส่วนที่ไม่เป็นคำพูด
2.1 ภาพประกอบ ( lilustrations )
2.2 การจัดภาพที่ดี ( Layout )
2.3 เครื่องหมายการค้า ( Logo )
2.4 ขนาด (Size )
2.5 สี ( Colour )
2.6 ตัวอักษร ( Typography )


2.1 ภาพประกอบ มีภาพสินค้า มีวิธีการใช้สินค้า อธิบายความคิดหรือภาพไม่มีสินค้า
2.1.1 ภาพถ่าย
2.1.2 ภาพลายเส้น
2.1.3 ภาพประกอบที่มีการรวมกัน ทั้งภาพถายและภาพลายเส้น

2.2 การจัดภาพที่ดี มีความสมดุล มีจุดเด่น มีสัดส่วนที่ดี มี่ที่วางที่เหมาะสม
2.3 เครื่องหมายการค้า การแสดง เอกลักษณ์ของสินค้า อาจจะมีลายเส้น ที่ไม่ต้องมีรายละเอียดมากนัก
2.4 ขนาด ต้องมีความเด่น ความแรง ต้องขนาดใหญ่ย่อมจะดีกว่า
2.5 สี สี่ที่ดีกว่าขาวดำ แต่อาจจะมีโยงกับอารมณ์ ความรู้สึก ลีลา
2.6 ตัวอักษร สร้างอารมณ์และสร้างจินตภาพ และบุคลิกของสินค้าได้


รูปแบบการนำเสนอ
การนำเสนอภาพลักษณ์ต่าง ๆที่เกี่ยวกับโฆษณา สามารถดึงดูด ความสนใจ รูปภาพอย่างเดียว สามารถบอกอะไรได้เยอะ
เทคนิค Photoshop : แต่งภาพให้ฟุ้งนุ่มนวล

มา รู้จักกับอีกเทคนิคการแต่งภาพ ง่ายๆอีกเทคนิคหนึ่ง แต่ว่าสามารถสร้างความรู้สึกใหม่ๆให้กับภาพของเราได้อย่างไม่น่าเชื่อหากใคร ที่ติดตามผลงานของช่างภาพหลายๆท่าน ตามเว็บบอร์ดเกี่ยวกับกล้องและการถ่ายภาพต่างๆเราก็จะเห็นว่าภาพของบางท่าน นั้นดูนุ่มนวล ฟุ้ง เหมือนกับอยู่ในฝัน

1.เปิดภาพที่ต้องการครับ จะ resize ภาพให้ได้ขนาดที่ต้องการรอไว้ก่อนเลยก็ได้ครับ

2. เมื่อเปิดภาพขึ้นมาแล้ว ใน palette "Layer" เราจะได้เลเยอร์มาชื่อว่า "Background" ให้เราทำการก๊อปปี้เลเยอร์ครับ โดยคลิกขวาที่เลเยอร์ Background แล้วเลือก Duplicate Layer

3.เราก็จะได้เลเยอร์ใหม่ขึ้น มาชื่อว่า "Background copy" ให้เราคลิกที่เลเยอร์ Background copy ครับ เนื่องจากต่อไป เราจะจักการกับเลเยอร์นี้ไปจนจบขั้นตอน

4.เราจะมา ปรับภาพให้เบลอกันหน่อย จะเบลอทำไม เดี๋ยวได้เห็นครับ โดยไปที่เมนู Filter > Blur > Gaussian Blur.จากนั้นเราจะทำให้เบลอแล้วครับ โดยปรับค่า Radius ไปที่ 20 pixels

5.ต่อไปเราจะมาสร้างปาฏิหารย์กันครับ โดยกลับมาที่

วันเสาร์ที่ 20 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2553

งานครั้งที่ 4

แนวคิดเกี่ยวกับการสร้างสรรค์งานโฆษณา

1 ส่วนที่เป็นคำพูด
2 ส่วนที่ไม่เป็นคำพูด

การนำเสนอความคิดสร้างสรรค์
1 ส่วนที่เป็นคำพูด
- พาดหัว
- พาดหัวรอง
- ข้อความโฆษณา
- บรรยายใต้ภาพ
- สโลแกน
- บรรทัดท้าย
- ชื่อตัวสินค้า

2 ส่วนที่ไม่เป็นคำพูด
- ภาพประกอบ
- การจัดภาพที่ดี
- เครื่องหมายการค้า
- ขนาด
- สี
- ตัวอักษร

รูปแบบการนำเสนอภาพโฆษณา การนำเสนอภาพลักษณะต่างๆที่เกี่ยวข้องกับโฆษณา




7. ภาพอุปมา




6.ภาพสองสิ่งรวมกัน














5.ภาพมุมกล้อง 4.ภาพผิดปกติ


















3.ภาพเหนือจริง 2. ภาพผิดปกติจากของจริง














1. ภาพล้อเลียน